Author Topic: อาการไหนใช่-ไม่ใช่ ควิด-19  (Read 219 times)

0 Members and 3 Guests are viewing this topic.

Offline kaidee20

  • Jr. Member
  • **
  • Posts: 93
  • Karma: +0/-0
    • http://www.facebook.com/-

วันที่ 6 มีนาคม 2563 ผู้สื่อข่าวรายงาน เว็บไซต์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้เผยแพร่ผลสรุปการสืบสวน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในจีน หลังจากทีมผู้เชี่ยวชาญนานาชาติ 25 คน ที่องค์การอนามัยโลก (ฮู) ส่งเข้าไปสืบสวนสถานการณ์ในจีน โดยได้ข้อสรุปว่า
  • กรณีส่วนใหญ่ (78-85%) เกิดจากการติดต่อกันในครอบครัวจากละอองเสมหะ (droplet) ไม่ใช่จากการกระจายจากละอองลอย (aerosol) เป็นหลัก
  • ส่วนใหญ่ของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลที่ติดเชื้อ (จากทั้งหมด 2,055 คน) ติดเชื้อจากที่บ้าน หรือไม่ก็ติดเชื้อจากการระบาดในช่วงแรกที่ยังไม่มีการประกาศมาตรการรับมือโรค
  • ราว 5% ของคนที่วินิจฉัยว่าป่วย ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ อีก 15% ต้องใช้ออกซิเจนเข้มข้นสูง
  • ช่วงการฟื้นตัวโดยเฉลี่ยราว 3–6 สัปดาห์ สำหรับรายที่อาการหนัก และ 2 สัปดาห์สำหรับราย
    ที่ป่วยไม่มาก

  • จำนวนผู้ป่วยและช่วงเวลาที่ใช้รักษาเป็นภาระหนักเกินกว่าระบบที่อู่ฮั่น健康รองรับได้ จังหวัดหูเป่ย เมืองหลวงมณฑลอู่ฮั่นมีผู้ป่วยราว 65,596 คน (ข้อมูลวันที่ 2 มี.ค. 2563)
  • มีการส่งคนไปช่วยรับมือที่หูเป่ยราว 40,000 คน ในอู่ฮั่นมีโรงพยาบาล 45 แห่งที่ใช้รองรับผู้ป่วย โดย 6 แห่งรองรับผู้ป่วยขั้นวิกฤติ และอีก 39 แห่งรองรับผู้ป่วยหนัก โดยเฉพาะกลุ่มอายุมากกว่า 65 ปี
  • มีการสร้างโรงพยาบาลสนามขนาด 2,600 เตียงอย่างรวดเร็ว
  • ผู้ป่วยราว 80% มีอาการไม่หนัก มีโรงพยาบาลชั่วคราว 10 แห่งที่ปรับใช้จากการดัดแปลงยิมเนเซียมและห้องจัดแสดงนิทรรศการ
  • ขณะนี้ จีนผลิตชุดตรวจ美容โรคโคโรนาไวรัสใหม่นี้ ราว 6 ล้านชุด/สัปดาห์ โดยรู้ผลการตรวจได้ในวันเดียว ใครที่มีไข้และไปพบแพทย์ จะได้รับการตรวจเบื้องต้นด้วยชุดตรวจนี้ ในเมืองกวางตุ้งที่ห่างจากอู่ฮั่น ได้ทดสอบกับคนไปแล้วรวม 320,000 คน และมี 0.14% ที่ตรวจแล้วพบไวรัส
  • คนส่วนใหญ่ที่ได้รับเชื้อ มักจะมีอาการในที่สุด แม้ว่าจะช้าเร็วต่างกัน ในกรณีที่ตรวจพบไวรัสแต่ยังไม่มีอาการนั้น หายาก และส่วนใหญ่ 健康食品จะป่วยในอีกสองสามวันต่อมา
  • อาการที่พบบ่อยที่สุดคือ มีไข้ (88%) ไอแห้งๆ (68%) ไม่มีเรี่ยวแรง (38%) ไอแบบมีเสมหะ (33%) หายใจลำบาก (18%) เจ็บคอ (14%) ปวดหัว (14%) ปวดกล้ามเนื้อ (14%) หนาวสั่น (11%) อาการที่พบน้อยลงมาหน่อยคือ คลื่นไส้และอาเจียน (5%) คัดจมูก (5%) และท้องเสีย (4%)
  • อาการที่ไม่ใช่สัญญาณโรคของโควิด-19 คือ น้ำมูกไหล
  • จากการตรวจสอบคนจีนที่ติดเชื้อรวม 44,672 คน มีอัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ 4%
  • อัตราการเสียชีวิตขึ้นเป็นอย่างมากกับ อายุ, สภาพ体重控制ร่างกายก่อนติดเชื้อ, เพศ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระบบสุขภาพที่รับมือโรค
  • ตัวเลขการเสียชีวิตนับจนถึงวันที่ 17 ก.พ. ทุกรายสะท้อนผลระบบสุขภาพที่ใช้รับมือของจีน ซึ่งจะต่างออกไปเป็นอย่างมากในอนาคต สำหรับที่อื่นๆ
  • ระบบสุขภาพของจีน: คนที่ติดเชื้อในจีนราว 20% ต้องการการรักษาที่โรงพยาบาลนานหลายสัปดาห์ จีนมีโรงพยาบาลเพียงพอจะใช้รักษาประชากรได้ 4% ของทั้งหมดในเวลาเดียวกัน ขณะที่ประเทศพัฒนาแล้วอื่นๆ มีศักยภาพราว 0.1–1.3% และเตียงส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่มีผู้ป่วยโรคอื่นใช้อยู่แล้ว
  • วิธีการรับมือที่สำคัญแรกสุดที่จะช่วยป้องกันการกระจายของไวรัสได้อย่างชะงัด คือทำให้จำนวนผู้ป่วยหนักโรคนี้มีจำนวนน้อย และขั้นตอนสำคัญรองลงมาคือ การเพิ่มจำนวนเตียง (รวมทั้งวัสดุและบุคลากร) จนกว่าจะมีเพียงพอสำหรับผู้ป่วยหนัก
  • จีนทดสอบการรักษาด้วยวิธีการที่หลากหลายกับโรคที่ยังไม่เป็นที่รู้จัก และนำวิธีการที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดไปใช้ทั่วประเทศ ด้วยวิธีการตอบสนองเช่นนี้เอง ที่ทำให้อัตราการตายลดลงกว่าเมื่อหนึ่งเดือนก่อนหน้านี้
  • สภาพร่างกาย[url=http://board.nickcs.com/go.php?https://www.pandalean.com/]运动与健身[/url]ก่อนการติดเชื้อ: อัตราการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อที่มีโรคระบบหลอดเลือดหัวใจในจีนคือ 2% ขณะที่สำหรับคนที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง (เบาหวานที่ไม่ควบคุม) อยู่ที่ 9.2% และ 8.4% สำหรับโรคความดันสูง, 8% สำหรับโรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง และ 7.6% สำหรับโรคมะเร็ง
    คนที่ไม่มีอาการป่วยใดๆ ก่อนติดเชื้อมีอัตราการเสียชีวิตที่ 1.4%
  • อายุ: ยิ่งอายุน้อย ก็ยิ่งติดเชื้อยาก และแม้จะติดเชื้อ ก็จะป่วยไม่หนักเท่ากับผู้ที่อายุมากกว่า


 
Share this topic...
In a forum
(BBCode)
In a site/blog
(HTML)