Author Topic: ซ่อมโครงสร้าง รอยแตกร้าว คานร้าว เสาร้าว การเสริมโครงสร้างอาคาร  (Read 472 times)

0 Members and 2 Guests are viewing this topic.

Offline getuppost11

  • Pro Member
  • *
  • Posts: 921
  • Karma: +0/-0

ซ่อมเสาโครงสร้าง ซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีตการเสริมโครงสร้างอาคาร ซ่อมแซมและเสริมกำลังอาคารด้วยคาร์บอนไฟเบอร์ คือวัสดุเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก และโครงสร้างไม้ ประเภทแผ่นโพลีเมอร์คาร์บอนใยเสริม (CFRP) ที่สามารถต้านทานการเกิดสนิม เหมาะสำหรับพื้นที่ที่ต้องการรับน้ำหนักเพิ่ม โครงการที่มีการสั่นสะเทือน หรืองานซ่อมแซมโครงสร้าง   ซ่อมโครงสร้างอาคาร ซ่อมโครงสร้างเสา ซ่อมคานหัก แตกร้าว ตอม่อคอนกรีตแตกหลุดหรือยุบตัว น้ำซึมตามรอยแตกร้าวของโครงสร้าง เหล็กเสริมภายในเป็นสนิม คอนกรีตเพดานหลุดร่อนจนเห็นเหล็กเสริม แนะนำแนวทางการแก้ไข พร้อมงบประมาณในการซ่อม

ซ่อมโครงสร้าง รอยแตกร้าว คานร้าว เสาร้าว การเสริมโครงสร้างอาคาร ซ่อมแซมและเสริมกำลังอาคารด้วยคาร์บอนไฟเบอร์ คือวัสดุเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก และโครงสร้างไม้

ซ่อมโครงสร้างด้วยคาร์บอนไฟเบอร์ Carbon-Fiber Reinforced Polymer ซึ่งเป็นวัสดุคอมโพสิตเสริมเส้นใยที่สามารถนำมาใช้เสริมกำลังโครงสร้างได้ ไม่ว่าจะเป็นเสริมคาน พื้น เสา พื้นไร้คาน คานลึก หรือ องค์อาคารอื่นๆ วัสดุCFRP เป็นแผ่นที่เสริมด้วยเส้นใยคาร์บอน ที่มีกำลังรับน้ำหนักสูงมาก คือมากกว่าเหล็กถึง 10 เท่า ไม่เป็นสนิม  แผ่นคาร์บอนไฟเบอร์มีลักษณะเป็นแผ่นบาง มีน้ำหนักเบา ออกแบบให้ใช้ร่วมกันกับกาวอีพอกซีเพื่อใช้เป็นตัวยึดในการติดตั้ง ให้แผ่นยึดติดกับกับโครงสร้างคอนกรีตไม่ว่าจะเป็นการเสริมคาน พื้น หรือเสา ทำให้โครงสร้างสามารถรับน้ำหนักได้สูง สามารถต้านแผ่นดินไหว นอกจากนี้ทำให้การก่อสร้างทำได้สะดวกรวดเร็ว การใช้คอนกรีตและแผ่นเหล็กในการหุ้มในงานซ่อมแซมเพื่อเสริมกำลังโครงสร้าง ทำได้ยากกว่า ใช้แรงงานและระยะเวลามากกว่า 

วัสดุคาร์บอนไฟเบอร์ (CFRP) ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายทั่วโลกในปัจจุบัน ออกแบบตามมาตรฐานสากล ACI440 มาตรฐานวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ มาตรฐาน ACI 318 และมาตรฐานอาคารอื่นๆ    CFRP ที่ใช้ทั่วไปมี 2 ประเภทได้แก่ แบบแผ่น (Sheet) ความหนาประมาณ 0.11-0.17 มม.และแบบลามิเนท (Laminate) ความหนาประมาณ 1.2-1.4 มม. โดยแบบลามิเนทเป็นการนำแบบแผ่นบางจำนวน 5-6 ชั้นมาประสานกันด้วยอีพ็อคซี่เรซินจนเป็นแผ่นแข็งชิ้นเดียวกัน ซึ่งจะมีความสามารถรับกำลังได้ดีกว่าแบบแผ่น แต่ค่าติดตั้งก็จะสูงกว่าตามไปด้วย ดังนั้นในการใช้งาน CFRP จะต้องมีการสำรวจตรวจสอบและวิเคราะห์คำนวณออกแบบโครงสร้างที่จะใช้งานจริงถึงความเหมาะสมโดยวิศวกรโครงสร้าง

เพื่อให้การติดตั้ง CFRP ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และโครงสร้างอาคารมีความปลอดภัยในการใช้งานตามหลักวิศวกรรม      1. น้ำหนักเบา ไม่เป็นภาระให้กับโครงสร้างเดิม     2. มีขนาดเล็ก ไม่มีผลต่อรูปแบบสถาปัตยกรรม     3. ติดตั้งสะดวกและรวดเร็ว ไม่กระทบกับการใช้งานเดิม     4. ทนทานต่อการกัดกร่อนและการสึกหรอ     5. ทนทานต่อสารเคมี เช่น กรด-ด่าง      6. มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน      7. สามารถทาสีหรือปิดทับด้วยวัสดุอื่นเพื่อความสวยงามได้      CFRP Application      1. งานซ่อมแซมโครงสร้างเดิมที่เสียหาย     2. งานปรับปรุงเปลี่ยนแปลงต่อเติมการใช้งานโครงสร้างเดิม      3. งานเสริมความแข็งแรงและเสริมกำลังของโครงสร้างเดิม      4. งานแก้ไขโครงสร้างอาคารที่มีปัญหา

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อ

คุณ วิษณุรักษ์ รัตนอุบล

Tel: 081-720-7519


บริษัท วีเทค โค๊ตติ้ง แอนด์ เทคโนโลยี จำกัด

137/24-25 หมู่ 21 ถนนนิมิตรใหม่ ตำบลลำลูกกา

อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150


Tel: 02-005-0614

Fax: 02-005-0613

E-mail:veetechcoating@gmail.com

https://www.ซ่อมโครงสร้าง.com

https://www.xn--42cgan4inb9cwa0d9jtcva.com



Keyword  ซ่อมโครงสร้าง, ซ่อมโครงสร้างอาคาร, ซ่อมโครงสร้างเสา



Offline getuppost11

  • Pro Member
  • *
  • Posts: 921
  • Karma: +0/-0
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้

Offline getuppost11

  • Pro Member
  • *
  • Posts: 921
  • Karma: +0/-0
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้

Offline getuppost11

  • Pro Member
  • *
  • Posts: 921
  • Karma: +0/-0
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้

 
Share this topic...
In a forum
(BBCode)
In a site/blog
(HTML)