Author Topic: วิธีปฏิบัติการให้ อาหารทางสายยาง ผู้ป่วย ทางจมูก กับหน้าท้อง แตกต่างกันอย่างไร  (Read 74 times)

0 Members and 1 Guest are viewing this topic.

Offline siritidaporn

  • Pro Member
  • *
  • Posts: 686
  • Karma: +0/-0

การให้อาหารทางสายยาง คือ การที่ทำให้อาหารที่ถูกผลิตในรูปแบบของเหลวไหลผ่านทางสายยางเข้าสู่กระเพาะอาหารโดยตรง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารต่างๆ และน้ำ ครบถ้วนเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เหมือนคนปกติทั่วไป

โดยการให้อาหารทางสายยางนั้น จะใช้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารได้เองหรือมีปัญหาในการกลืนกิน

ตามหลักการแล้วอาหารทางสายยางจะต้องมีอาหารครบตามหลักโภชนาการทั้ง 5 หมู่ คือ คาร์โบไฮเดรต (ข้าว , แป้ง , น้ำตาล) โปรตีน (เนื้อสัตว์ , ไข่ , นม , ถั่ว) ไขมัน (น้ำมัน , ไขมันสัตว์) เกลือแร่ และวิตามิน (ผักผลไม้ต่างๆ) โดยต้องมีสัดส่วนที่เป็นมาตรฐานที่ร่างกายจำเป็ต้องได้รับในแต่ละวัน คือ คาร์โบไฮเดรต 40-50% โปรตีน 20-30% ไขมัน 10-20% เกลือแร่ และวิตามิน 10%

ซึ่งเป็นบริษัทที่ให้บริการงานสนับสนุนต่างๆในโรงพยาบาลที่มีมาตรฐานสากล ทางด้านอาหารในกลุ่มโรงพยาบาลชั้นนำภายใต้มาตรฐานระดับโลก จึงทำให้เราคำนึงถึงประโยชน์ที่ผู้ป่วยเหมาะสม และปริมาณที่เป็นมาตรฐานตามหลักการแพทย์อย่างเข้มงวด สูตรอาหารปั่นผสมนั้นจะมีความหลากหลายที่เหมาะสมกับผู้ป่วยในแต่ละบุคคล

วิธีปฏิบัติการให้ อาหารทางสายยาง ผู้ป่วย ทางจมูก กับหน้าท้อง แตกต่างกันอย่างไร ดูเพิ่มเติมที่นี่ https://thetastefood.com/%e0%b8%a7%e0%b8%b4%e0%b8%98%e0%b8%b5%e0%b8%9b%e0%b8%8f%e0%b8%b4%e0%b8%9a%e0%b8%b1%e0%b8%95%e0%b8%b4%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b9%83%e0%b8%ab%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%b2%e0%b8%ab%e0%b8%b2%e0%b8%a3/


 
Share this topic...
In a forum
(BBCode)
In a site/blog
(HTML)