Author Topic: ทำการตลาดด้วยตัวเองสมัครใช้บริการ SEO ประโมทเว็บไซต์ ด้วย คอนเทนต์มาร์เก็ตติ้ง ติดหน้าแรกกูเกิล โดย  (Read 357 times)

0 Members and 1 Guest are viewing this topic.

Offline panda42

  • Newbie
  • *
  • Posts: 11
  • Karma: +0/-0

พูดคุยเกี่ยวกับทำการตลาดด้วยตัวเองสมัครใช้บริการ SEO ประโมทเว็บไซต์ ด้วย คอนเทนต์มาร์เก็ตติ้ง ติดหน้าแรกกูเกิล โดย CM SEO Group ข้อมูลอัพเดทล่าสุด

วิธีการสมัครใช้บริการ SEO ประชาสัมพันธ์ ด้วย Domain Name Register ติดหน้าแรกกูเกิล โดย ซีเอ็ม เอสอีโอ กรุ๊ป หากคุณกำลังศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับบริการ SEOอ่านบทความนี้แล้วจะทำให้คุณเข้าใจมากยิ่งขึ้น แนวทางการเลือกบริษัทบริการ SEO คุณภาพ

  ปัจจุบันมีบริษัทที่ให้บริการ SEO มากมาย ทั้งหน้าเก่า หน้าใหม่ รวมกัน ผู้ที่รับทำ SEO บางเว็บก็ติดอันดับ Google คีย์เวิร์ดเกี่ยวกับการให้บริการเอสอีโอมาเนิ่นนานหลายปี ติดอันดับตั้งแต่ยุคที่ลิงค์เป็นทุกสิ่งทุกอย่างสำหรับการทำการตลาดออนไลน์ หรือยุคที่ลิงค์มั่งคั่งก็ว่าได้ แม้ยุคปัจจุบัน Google จะให้ความสำคัญกับแต้มลิงค์น้อยลงไปมาก แต่เว็บที่ติดอันดับ Google มาอย่างยาวนาน ย่อมได้เปรียบ และได้คะแนนข้อมูลคนเข้าเว็บไซต์สะสมมาอย่างนานมากนั่นเอง กอรปกับ โดเนมเนม ที่มีอายุมากๆ ยิ่งทำให้กูเกิลเชื่อมั่นว่าเว็บเหล่านั้นมีคุณภาพ เมื่อเป็นเช่นนี้ มันก็เป็นการสร้างความซับซ้อนให้กับผู้ใช้บริการ SEO หน้าใหม่ ที่อาจไม่มีเบสิคด้านเอสอีโอ ไม่ว่าจะเป็นพื้นฐานของเอสอีโอสมัยเก่าและสมัยใหม่ ทำให้ไม่มีความรู้ในการเลือกบริษัทบริการ SEO ที่ดี อาศัยแค่ว่าเห็นเว็บผู้ให้บริการเอสอีโอติดอันดับ Google เป็นตัวตัดสินว่าจะใช้บริการจากเจ้าไหน ซึ่งความเป็นจริงแล้ว เว็บที่ให้บริการทำอันดับ Google หลายเว็บใช้เวลาเป็นปี หรืออาจหลายปี กว่าจะติดหน้าแรกคีย์เกี่ยวกับการให้บริการทางด้าน Search Marketing แต่อย่างว่า ผู้จ้างทำ SEO ก็ไม่รู้หรอกว่าแต่ละเว็บใช้ช่วงเวลาการติดอันดับเท่าไหร่ แต่ผมบอกได้คร่าวๆ ว่าใช้ช่วงเวลาอย่างน้อยที่สุด 1 ปี ในการทำให้ติดหน้าแรกคีย์เกี่ยวกับการรับทำเอสอีโอครับ บางเว็บก็ไม่ใช่จะติดอันดับนิ่ง มีการสวิงของอันดับเป็นระยะๆ ติดหน้าแรกบ้าง ติดหน้าสอง หน้าสามบ้าง สลับกันไปมา สิ่งเหล่านี้มันเป็นความเสี่ยงของผู้ที่จะจ้างนักทำ SEO ว่าจะเลือกเว็บไหนดันอันดับจึงจะสามารถทำเอสอีโอติดหน้าแรกได้จริง และสมัยนี้การทำ SEO ก็ยากกว่าเมื่อก่อนมาก และก็มีนักทำเอสอีโอน้อยรายที่เก่งจริงๆ สิ่งเหล่านี้ผู้จ้างทำเอสอีโอจึงต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีเลือกใช้บริการ SEO ให้สามารถดันอันดับได้จริง เพื่อที่จะใช้บริการจากผู้เชี่ยวชาญด้าน Internet Marketing ตัวจริง และวันนี้ผมก็มีหลักการคร่าวๆ ในการเลือกใช้บริการทำอันดับ Google จากมืออาชีพตัวจริง

1. แกะดูเทคนิคการดันอันดับของผู้ให้บริการ SEO

  การแกะดูเทคนิคของผู้ให้บริการ SEO ว่าใช้เทคนิคอะไรในการดันอันดับ จะช่วยสนับสนุนให้เราเชื่อมั่นยิ่งขึ้นว่า เราเลือกบริษัทรับทำ SEO ที่มีคุณภาพ ซึ่งเราจะต้องตรวจสอบขั้นตอนการทำเอสอีโอของผู้ให้บริการแต่ละรายอย่างละเอียด เพื่อสามารถนำมาวิเคราะห์ และวิเคราะห์ว่าควรเลือกบริษัทไหนในการทำเอสอีโอให้เรา วิธีการแกะดูว่าเว็บนั้นๆ ใช้วิธีไหนในการทำเอสอีโอ ก็มีตั้งแต่การตรวจสอบดูว่าเว็บนั้นๆ มีการปรับ SEO On Page ยังไง และมีขั้นตอนการสร้าง SEO Off Page คุณภาพมากน้อยเพียงใด ถ้าพูดให้เข้าใจง่ายๆ การปรับเอสอีโอออนเพจ คือ การปรับในส่วนของปัจจัยภายในเว็บเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นการปรับ Title ของเว็บ การปรับพวก Meta Tags ต่างๆ ของเว็บไซต์ การเน้นคำหรือประโยคภายในเว็บไซต์ รวมไปถึงการกำหนด Keyword หลักของเว็บไซต์ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นการปรับในส่วนของออนเพจนั่นเองครับ ส่วนการปรับออฟเพจ คือการสร้าง backlinks กลับมาหาเว็บไซต์หลัก หรือเรียกว่าการสร้างลิงค์ภายนอกชี้มายังเว็บไซต์ที่เราจะดันอันดับ ซึ่งการสร้างแบ็คลิงค์ก็มีตั้งแต่การสร้าง Anchor Text Link การสร้าง Domain Link การกระจายคีย์เวิร์ดที่ใช้ในการสร้างลิงค์ เป็นต้น

2. ตรวจสอบการปรับ On Page ของผู้ให้บริการ SEO

  ขั้นตอนการตรวจเช็คการทำเอสอีโอออนเพจ ของผู้ให้บริการ SEO ก็ไม่ได้มีอะไรยุ่งยาก วิธีที่ง่ายที่สุด คือการตรวจสอบการกำหนด Title , Meta Description , Meta Keywords และการเน้นประโยคภายในเว็บ ว่ามีการเน้นประโยคที่เป็น Keyword หลักเป็นธรรมชาติหรือไม่ โดยดูจากความเป็นธรรมชาติของการเน้นขนาดของประโยค สีตัวอักษร และการกำหนด Paragraph ของเนื้อหา ว่าทำให้เราอ่านสะดวกหรือไม่ และเนื้อหาที่เราอ่านแล้ว เราได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการอ่านครั้งนี้ หรือไม่ นอกจากนั้นแล้วยังต้องตรวจสอบอีกด้วยว่า เว็บนั้นสนับสนุนการแสดงผลบนมือถือหรือไม่ ตามเกณฑ์ของกูเกิลที่กำหนดให้เว็บไซต์จะต้องสนับสนุน Responsive Design หรือเรียกอีกอย่างว่า Google Mobile Friendly อีกทั้งตรวจสอบว่าเว็บสนับสนุนเทคโนโลยี AMP ที่ย่อมาจาก Accelerate Mobile Pages หรือไม่ เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วให้เราตรวจสอบว่าเว็บนั้นๆ มีการ  Index  ปริมาณกี่หน้า แต่ละหน้านั้นเป็นเนื้อหาคุณภาพเป็นมิตรกับผู้เยี่ยมชมหรือไม่ โดยใช้คำสั่ง site: ตามด้วยชื่อเว็บที่อยากได้ตรวจสอบการอินเด็กซ์ รวมทั้งการตรวจสอบการเชื่อมโยงลิงค์ภายในของเว็บด้วย

3. ตรวจสอบการปรับ Off Page ของผู้ให้บริการ SEO

  แนวทางการตรวจเช็คการปรับเอสอีโอออฟเพจของผู้ให้บริการ SEO เป็นการตรวจสอบว่าผู้ให้บริการเอสอีโอ หรือ เว็บไซต์ที่เราต้องการตรวจเช็คดูวิธีการสร้าง Backlinks ของผู้ให้บริการนั้นๆ หรือเว็บนั้น ว่าได้สร้างแบ็คลิงค์คุณภาพหรือไม่ เพื่อที่เราจะได้มั่นใจว่าหากใช้บริการ SEO กับเว็บนั้นๆ แล้ว เราจะได้รับการสร้างแบ็คลิงค์กลับมายังเว็บหลักของเราด้วยลิงค์คุณภาพ ช่วยสนับสนุนให้เว็บของเราติดอันดับกูเกิล อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และลดความเสี่ยงของการโดน Google Penalty เพราะต้องบอกก่อนครับว่า การสร้างลิงค์เพื่อทำอันดับเอสอีโอนั้น ไม่ว่าเราจะสร้างลิงค์คุณภาพหรือไม่ ระยะเริ่มต้นอันดับเอสอีโอของเว็บเราจะสวิงลงก่อนเสมอ หากกูเกิลตรวสอบว่าเราสร้างลิงค์คุณภาพถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของกูเกิล อันดับของเว็บไซต์ก็จะขยับขึ้นและดีกว่าเดิมครับ ต้องดูด้วยว่าบทความที่เขียนขึ้นเพื่อสร้างลิงค์กลับมายังเว็บหลัก หรือ Money Site นั้น มีบทความสอดคล้องกับหรือไม่ อ่านรู้เรื่องหรือไม่ เนื้อหาดังกล่าวเป็นมิตรกับผู้ติดตามหรือไม่ แล้วเมื่ออ่านบทความดังกล่าวแล้วเราได้รับความรู้หรือไม่ สิ่งเหล่านี้ต้องตรวจเช็คอย่างละเอียด อีกทั้งต้องดูแนวทางการสร้างลิงค์ของผู้ให้บริการ SEO ว่ามีการใช้ Anchor Text Link โดยการกระจายคีย์เวิร์ดให้เป็นธรรมชาติหรือไม่ ไม่เน้นคีย์เวิร์ดใดคีย์เวิร์ดหนึ่งมากจนเกินไป ตลอดจนตรวจสอบด้วยว่า เป็นการสร้างลิงค์บนหน้าเว็บที่น่าเชื่อถือหรือไม่ กล่าวคือ ถ้าเป็นการสร้างลิงค์บนบล็อก หรือเว็บ ที่ไม่มีการโพสเนื้อหาซ้ำๆ หรือที่เรียกว่า Duplicate Content ก็โอเคระดับหนึ่ง และต้องไม่เป็นการสร้างลิงค์จากเว็บที่มีลักษณะ Content Farm หรือเว็บที่โพสต์เนื้อหาซ้ำๆ และเป็นเนื้อหาที่ไม่เข้าพวกกัน มีบทความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง เป็นต้น

4. ตรวจสอบการสร้างแบ็คลิงค์ด้วย Blog Network ของผู้ให้บริการ SEO

  ปัจจัยที่สำคัญอีกอย่างที่ผู้จ้างทำ SEO จะต้องเข้าใจและสามารถตรวจสอบบริษัทที่ให้บริการ SEO ว่ามีการใช้ Private Blog Network หรือไม่ และหากมีการใช้เน็ตเวิร์คส่วนตัวในการทำเอสอีโอแล้ว PBN ดังกล่าว มีคุณภาพมากน้อยเพียงใด และผู้จ้างทำเอสอีโอจะต้องเข้าใจด้วยว่าเว็บแบบไหนที่เรียกว่าเน็ตเวิร์คส่วนตัวด้วยครับ และ Network ส่วนตัวส่วนมากจะใช้ CMS หรือ Webboard เป็นหลัก ถ้าเป็นซีเอ็มเอสก็จะนิยมใช้ Wordpress สำหรับสร้างเน็ตเวิร์คส่วนตัว เพราะเวิร์ดเพลสสนับสนุนเอสอีโอมากที่สุดในตระกูลของบล็อกฟรีครับ ส่วนถ้าเป็นเว็บบอร์ดก็จะเป็น SMF ซึ่งเป็นเว็บบอร์ดที่รองรับเอสอีมากที่สุดสำหรับเว็บบอร์ดฟรี แต่ถ้าเสียตังค์ก็จะเป็น Vbulletin ที่สนับสนุนเอสอีโอได้ดีกว่าเอสเอ็มเอฟครับ สิ่งที่ควรมองดูอีกอย่างคือ ถ้าเป็นเว็บที่ใช้ทำเน็ตเวิร์คส่วนตัว ส่วนใหญ่จะเป็นเว็บปิด ไม่เปิดให้มีสมาชิกมาร่วมโพสเนื้อหาด้วย และคนที่โพสต์เนื้อหาส่วนมากจะเป็นชื่อซ้ำๆ กันแต่จะโพสต์เนื้อหาแตกต่างกัน และสร้างแบ็คลิงค์ไปยังหลายๆ เว็บ และส่วนใหญ่จะเป็น Admin ที่โพสบทความเพื่อสร้าง backlinks ครับ อีกประการหนึ่ง คือ ลักษณะการโพสต์ หากเป็นเน็ตเวิร์คส่วนตัว จะมีหลายๆ เว็บที่มีลักษณะเหมือนๆ กัน บทความมีเนื้อหาคล้ายกันกัน หรือบางครั้งอาจคล้ายกันในบางจุด แต่จะชี้ไปยังเว็บปลายทางเหมือนๆ กันในเวลาที่โพสใกล้เคียงกัน ถ้าพบแบบนี้ เป็นการสร้างเน็ตเวิร์คส่วนตัวเพื่อดันอันดับแน่นอน แม้ว่าปัจจุบันนักทำ SEO จะนิยมใช้ Network ส่วนตัวดันอันดับน้อยลง เพราะต้นทุนสูง โอกาสโดนกูเกิลแบนมีมาก และปัจจุบันต้องอาศัย IPs ของ SEO Hosting จำนวนมากๆ จึงจะเห็นผล ทำให้มีต้นทุนที่สูง นักทำเอสอีโอส่วนใหญ่จึงหันไปโพสต์เว็บบอร์ด หรือบล็อกฟรี เพื่อสร้างแบ็คลิงค์กลับไปยังเว็บหลัก

5. ตรวจสอบการใช้ Search Engine Console ของผู้ให้บริการ SEO

  ในการทำเอสอีโอผู้ให้บริการ SEO จะต้องนำเว็บเข้าสู่ระบบ Google Search Console ซึ่งสมัยก่อนเรียกว่า Google Webmaster Tools เพื่อที่จะส่งเสริมให้เว็บไซต์สามารถดันอันดับได้ดียิ่งขึ้น เพราะภายในกูเกิลเสิร์ทคอนโซลมีเครื่องมือสำหรับสนับสนุนการทำให้เว็บรองรับ Google Search ไม่ว่าจะเป็นการส่ง Sitemap ของเว็บเราไปยังกูเกิล เพื่อให้ Googlebot เข้ามาเก็บข้อมูลได้รวดเร็วและง่ายขึ้น เนื่องด้วยหากเว็บของเราสามารถ อินเด็กซ์ บน Search Result เร็วๆ นั่นย่อมมาถึงการเพิ่มโอกาสที่คนจะคลิกเข้าสู่เว็บของเราผ่านทาง Google Search มากตามไปด้วยนั่นเองครับ อีกทั้งภายในเครื่องมือ Google Search Console ยังมีฟังก์ชั่นการดึงหน้าเว็บไซต์คล้ายเป็น Google เอาไว้ให้เราเรียก Googlebot มาเก็บข้อมูลภายในเว็บขอเราทันทีที่เราอัพเดทข้อมูลเรียบร้อยแล้ว และไม่อยากรอให้บอทมาเก็บก็สามารถเรียกบอทมาได้ทันที ซึ่งหนึ่งบัญชีสามารถเรียกกูเกิลบอทแบบเรียลไทม์ได้เดือนละ 10 ครั้ง และสามารถเรียกบอทแบบธรรมดาเดือนละ 500 ครั้ง ต่อ 1 Account นั่นเองครับ ยังไงก็ตามหากไม่ได้อัพเดทข้อมูลภายในเว็บไซต์ ก็ไม่จำเป็นต้องใช้งานฟังก์ชั่นส่วนนี้ เพราะอาจไม่ส่งผลดีต่ออันดับครับ

6. สอบถามผู้ให้บริการ SEO ตรงๆ ว่าสร้าง Traffic ได้หรือไม่

  แม้ว่าเราจะสามารถตรวจเช็คตัวเลข Traffic ของเว็บอื่น หรือเว็บผู้ให้บริการ SEO ว่าสามารถสร้างทราฟฟิคได้หรือไม่ โดยสามารถตรวจสอบจากการเอา URL ของ โดเนมเนม ไปตรวจเช็คกับเว็บตรวจเช็ค Backlinks และ Traffic ของเมืองนอก เราสามารถเลือกดูในส่วนของทราฟฟิคที่เข้าสู่เว็บนั้นๆ ได้ แต่อย่างว่าครับ หากเราไม่ใช่เจ้าของเว็บไซต์ แม้เราจะเอาชื่อชื่อเว็บไปตรวจเช็คข้อมูลทราฟฟิคที่เข้าสู่เว็บ ก็เป็นเพียงข้อมูลคร่าวๆ มีความคลาดเคลื่อนสูงมาก สรุป คือ เราไม่สามารถตรวจข้อมูลทราฟฟิคของเว็บไซต์อื่นได้ เว้นแต่ว่าเว็บนั้นมีการติดตัวนับคนเข้าเว็บไซต์ หรือที่เรียกว่า Counter หรือ Visitor Stats นั่นเองครับ ในปร
รูปภาพที่เกี่ยวข้อง
รูปภาพที่เกี่ยวข้องทำการตลาดด้วยตัวเองสมัครใช้บริการ SEO ประโมทเว็บไซต์ ด้วย คอนเทนต์มาร์เก็ตติ้ง ติดหน้าแรกกูเกิล โดย CM SEO Group
บล็อกสมัครใช้บริการ SEO ประชาสัมพันธ์ ด้วย การเขียนบทความคุณภาพ ติดอันดับกูเกิล โดย ซีเอ็ม เอสอีโอ กรุ๊ป
อ้างอิงจาก: บริการ SEO
แท็ก: บริการ SEO
Quote from: บริการ SEO
ทำการตลาดด้วยตัวเองสมัครใช้บริการ SEO ประโมทเว็บไซต์ ด้วย คอนเทนต์มาร์เก็ตติ้ง ติดหน้าแรกกูเกิล โดย CM SEO Group
หมวดหมู่: Search Engine Optimization
หน้าหลัก: http://www.cmseogroup.com
รายละเอียดสินค้า: http://www.cmseogroup.com/page/SEO-คืออะไร
ติดต่อเรา: http://www.cmseogroup.com/page/Google-Suggest-คืออะไร
ชื่อ: ซีเอ็ม เอสอีโอ กรุ๊ป (CM SEO GROUP)
ที่อยู่: รับทำ SEO เชียงใหม่ 30/7 ถนนบำรุงบุรี ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
เบอร์โทรติดต่อ: 096-237-3905
อีเมล์: thaiseogroup@gmail.com
อ้างอิงจาก: http://www.sookjai.com/index.php?action=post;board=59.0


 
Share this topic...
In a forum
(BBCode)
In a site/blog
(HTML)